• Home
  • Contact Us
  • masci.or.th
Guest Edition 
TH
EN
Log in or Register
Close
Lost your password?
MASCI Innoversity
  • Standardization
  • Future Management
    • Future Watch
    • Scenario Planning
    • Trend
      • Economic
      • Environment
      • Politic
      • Social
      • Technology
  • Strategic Management
    • Management Strategy
    • Risk Management
  • Sustainability Management
    • Economy
      • Quality Management
      • Business Continuity Management
      • Productivity Management
      • Innovation Management
    • Environment
      • Environmental Management
      • Carbon Management
      • Water Management
      • Energy Management
    • Social
      • Social Responsibility
      • Occupational Health and Safety Management
      • Labour Management
      • Community Management
  • Sufficiency Economy


TAKE A TOUR



Popular Views

  • ประกาศแล้ว ISO/IEC 17025: 2017ประกาศแล้ว ISO/IEC 17025: 2017
    13,456 view(s)
  • ทำไมต้องรู้เรื่อง ISO 45001 ตอนที่ 1ทำไมต้องรู้เรื่อง ISO 45001 ตอนที่ 1
    10,350 view(s)
  • ใหม่ล่าสุด ISO 14004: 2016 เสริมการใช้งาน ISO 14001ใหม่ล่าสุด ISO 14004: 2016 เสริมการใช้งาน ISO 14001
    8,790 view(s)
  • ปรับปรุงล่าสุด – มาตรฐานอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ ISO 13485ปรับปรุงล่าสุด – มาตรฐานอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ ISO 13485
    8,244 view(s)
  • ประกาศแล้ว ISO 22000 ฉบับใหม่ล่าสุดประกาศแล้ว ISO 22000 ฉบับใหม่ล่าสุด
    7,222 view(s)

Most Comments

  • วาดฝันอนาคตของการตั้งครรภ์วาดฝันอนาคตของการตั้งครรภ์16 comment(s)
  • สมาร์ทโฟนใช้แทนกุญแจโรงแรมสมาร์ทโฟนใช้แทนกุญแจโรงแรม15 comment(s)
  • WhatsApp มีผู้ใช้ต่อเนื่องครบ 430 ล้านคนWhatsApp มีผู้ใช้ต่อเนื่องครบ 430 ล้านคน14 comment(s)
  • นิทานเซนกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 1 ความสุขอยู่หนใดนิทานเซนกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 1 ความสุขอยู่หนใด14 comment(s)
  • 20 นวัตกรรมด้านการแพทย์และยาที่กำลังจะมาในปี 2557 ตอนที่ 220 นวัตกรรมด้านการแพทย์และยาที่กำลังจะมาในปี 2557 ตอนที่ 214 comment(s)

Tag

Aerospace & Defense Agriculture Alternative Energy Automobiles & Parts Climate Change Construction & Materials COVID-19 Economy Electronic & Electrical Equipment Energy Environment Environmental Management Financial Services Food & Beverages Future Management Future watch Health Health Care Equipment & Services Household Goods & Home Construction Infrastructure Innovation ISO ISO45001 IT Management Strategy Media Mobile Occupational health and safety Pharmaceuticals & Biotechnology Politic Quality safety Social standard Standardization Standards Strategic Management Sustainability Sustainability Management Technology Telecommunications Travel & Leisure water water management Water Supply

Email Newsletter

Receive daily updates:

Future Management | Future Watch | — July 13, 2016 8:00 am
หุ่นยนต์ซาลาแมนเดอร์ ใช้ช่วยงานเสี่ยงภัย
Posted by Phunphen Waicharern with 2008 reads
0
  

PLEUROBOTIS--SHININGFOR--SEARCHANDRESCUEวารสาร Live Science วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 ได้นำเสนอเรื่องของนักวิทยาศาสตร์ที่ได้พัฒนาหุ่นยนต์ซาลาแมนเดอร์ซึ่งเลียนแบบการว่ายน้ำและการเดินของซาลาแมนเดอร์ตัวจริงจากกล้องวิดีโอเอ๊กซ์เรย์ ทำให้สามารถสร้างหุ่นยนต์สะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบกได้ด้วยนวัตกรรมการเลียนแบบโครงสร้างกระดูกของซาลาแมนเดอร์  ในอนาคต คาดว่าจะสามารถนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ของการช่วยเหลือ หรือการตรวจสอบการปฏิบัติงานต่างๆ ได้

ที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ได้ประดิษฐ์หุ่นยนต์ที่เลียนแบบการเคลื่อนไหวของสัตว์ และพยายามทำให้รูปร่างของมันใช้งานได้ดีเช่นเดียวกับการประดิษฐ์หุ่นยนต์ซาลาแมนเดอร์ในครั้ง

Ijspeert นักประดิษฐ์หุ่นยนต์ชีวภาพ (bioroboticist) จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสที่โลซานน์  กล่าวว่าซาลาแมนเดอร์มีโครงสร้างร่างกายที่ใกล้เคียงกับฟอสซิลโครงกระดูกในยุคแรกเริ่ม กล่าวคือ สัตว์ยุคแรกๆ สามารถเปลี่ยนจากการว่ายน้ำมาเป็นการเดินได้

ในการสร้างหุ่นยนต์ซาลาแมนเดอร์นั้น นักวิจัยเริ่มศึกษาจากซาลาแมนเดอร์ที่มีชื่อว่า Pleurodeles waltl มีความยาว 7 นิ้ว (18 เซนติเมตร)  ซึ่งเคลื่อนไหวได้ทั้งบนบกและในน้ำ นักวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษาได้ใช้กล้องวิดีโอเอ๊กซเรย์ที่มีคุณภาพสูง สามารถติดตามดูจุดต่างๆ ของโครงกระดูกได้ถึง 64 จุดในขณะที่มันกำลังเคลื่อนไหวไปมา ทำให้เห็นท่าท่างของซาลาแมนเดอร์ขณะที่มันกำลังเดิน คลานหรือแม้แต่ว่ายน้ำ

พวกเขาได้ใช้พริ้นเตอร์สามมิติในการสร้างโครงกระดูกข์องหุ่นยนต์ซาลาแมนเดอร์ ภายในเครื่องจักรนี้ พวกเขาได้ใส่มอเตอร์ 27 ชิ้นละชุดกันน้ำที่ออกแบบขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้หุ่นยนต์อิเล็กทรอนิกส์เปียกน้ำได้

หุ่นยนต์ซาลาแมนเดอร์นี้มีชื่อว่า พลูโรบ็อต (Pleurobot) มีกระดูกและข้อต่อน้อยกว่าซาลาแมนเดอร์ตัวจริง แต่ก็สามารถเลียนแบบการเคลื่อนไหวได้เหมือนตัวจริงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ส่วนขา ซึ่งนักวิจัยต่างก็ตื่นเต้นที่สามารถทดสอบทางกายภาพของร่างกายซาลาแมนเดอร์แล้วพบว่ามันมีความสามารถเคลื่อนไหวได้เหมือนสัตว์ตัวจริงอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน ร่างกายของมันสามารถเคลื่อนไหวเป็นระลอกคลื่นด้วยคุณสมบัติการทำงานที่แตกต่างกัน เช่น ระหว่างว่ายน้ำ มันสามารถเคลื่อนไหวได้เหมือนตัวกินปลาหรือปลาไหลด้วยแขนขาที่เคลื่อนไปด้านหลัง แต่ในขณะที่มันเดิน มันจะเคลื่อนไหวไปข้างหน้าเหมือนสิ่งมีชีวิต

Ijspeert  นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าจากการที่มีกลไกที่มั่นคงขึ้นกว่าเดิมและสามารถควบคุมได้ดีขึ้น  จึงเป็นที่คาดว่ามันจะสามารถนำไปใช้งานด้านการค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ในอนาคต

เรื่องราวของหุ่นยนต์ที่สร้างขึ้นจากการเลียนแบบสัตว์เป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ

ที่มา: http://www.livescience.com/55265-robot-salamander-can-really-move.html



Related posts

  • 5 เทคโนโลยีเพื่อสมอง ช่วยปั้นอนาคตของเรา5 เทคโนโลยีเพื่อสมอง ช่วยปั้นอนาคตของเรา
  • ชาวญี่ปุ่นวัย 71 ปีคว้ารางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ชาวญี่ปุ่นวัย 71 ปีคว้ารางวัลโนเบลสาขาการแพทย์
  • หนามยอกหนามบ่ง วัคซีนป้องกันการเชื่อ “ข่าวลวง”หนามยอกหนามบ่ง วัคซีนป้องกันการเชื่อ “ข่าวลวง”
  • โดรนซุปเปอร์จิ๋ว “ไซบอร์กแมลงปอโดรนซุปเปอร์จิ๋ว “ไซบอร์กแมลงปอ
  • เรียนรู้นวัตกรรมในอุตสาหกรรมเฮลธ์แคร์เรียนรู้นวัตกรรมในอุตสาหกรรมเฮลธ์แคร์

Tags: Pleurobot, robot, Robotic, salamander

Click here to cancel reply.

Log in to join the conversation

You must be logged in to post a comment.

SUBSCRIBE

  • RSS FEED RSS FEEDSubscribe
  •  TwitterFollow us
  •  FacebookFan Page
  •  LinkedIn
  •  Youtube

Recent Comments

  • Phunphen Waicharern on แนะนำตึกสูงระฟ้าแห่งแรกของโลก ใช้พลังงานเป็นศูนย์
  • Phunphen Waicharern on ไอเอสโอพัฒนามาตรฐานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • Naris Lapsunthornphitak on ไอเอสโอพัฒนามาตรฐานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • Naris Lapsunthornphitak on แนะนำตึกสูงระฟ้าแห่งแรกของโลก ใช้พลังงานเป็นศูนย์
  • Naris Lapsunthornphitak on นวัตกรรมสีแห้งของไนกี้

Interesting Pages

  • (TH) landing page
  • Magazine
  • Take a Tour
  • Today Seminar
  • Contact Us

Categories

© Copyright 2021 — MASCI Innoversity. All Rights Reserved top ↑