• Home
  • Contact Us
  • masci.or.th
Guest Edition 
TH
EN
Log in or Register
Close
Lost your password?
MASCI Innoversity
  • Standardization
  • Future Management
    • Future Watch
    • Scenario Planning
    • Trend
      • Economic
      • Environment
      • Politic
      • Social
      • Technology
  • Strategic Management
    • Management Strategy
    • Risk Management
  • Sustainability Management
    • Economy
      • Quality Management
      • Business Continuity Management
      • Productivity Management
      • Innovation Management
    • Environment
      • Environmental Management
      • Carbon Management
      • Water Management
      • Energy Management
    • Social
      • Social Responsibility
      • Occupational Health and Safety Management
      • Labour Management
      • Community Management
  • Sufficiency Economy


TAKE A TOUR



Popular Views

  • ประกาศแล้ว ISO/IEC 17025: 2017ประกาศแล้ว ISO/IEC 17025: 2017
    13,543 view(s)
  • ทำไมต้องรู้เรื่อง ISO 45001 ตอนที่ 1ทำไมต้องรู้เรื่อง ISO 45001 ตอนที่ 1
    10,670 view(s)
  • ใหม่ล่าสุด ISO 14004: 2016 เสริมการใช้งาน ISO 14001ใหม่ล่าสุด ISO 14004: 2016 เสริมการใช้งาน ISO 14001
    8,872 view(s)
  • ปรับปรุงล่าสุด – มาตรฐานอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ ISO 13485ปรับปรุงล่าสุด – มาตรฐานอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ ISO 13485
    8,397 view(s)
  • ประกาศแล้ว ISO 22000 ฉบับใหม่ล่าสุดประกาศแล้ว ISO 22000 ฉบับใหม่ล่าสุด
    7,441 view(s)

Most Comments

  • วาดฝันอนาคตของการตั้งครรภ์วาดฝันอนาคตของการตั้งครรภ์16 comment(s)
  • สมาร์ทโฟนใช้แทนกุญแจโรงแรมสมาร์ทโฟนใช้แทนกุญแจโรงแรม15 comment(s)
  • WhatsApp มีผู้ใช้ต่อเนื่องครบ 430 ล้านคนWhatsApp มีผู้ใช้ต่อเนื่องครบ 430 ล้านคน14 comment(s)
  • นิทานเซนกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 1 ความสุขอยู่หนใดนิทานเซนกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 1 ความสุขอยู่หนใด14 comment(s)
  • 20 นวัตกรรมด้านการแพทย์และยาที่กำลังจะมาในปี 2557 ตอนที่ 220 นวัตกรรมด้านการแพทย์และยาที่กำลังจะมาในปี 2557 ตอนที่ 214 comment(s)

Tag

Aerospace & Defense Agriculture Alternative Energy Automobiles & Parts Climate Change Construction & Materials COVID-19 Economy Electronic & Electrical Equipment Energy Environment Environmental Management Financial Services Food & Beverages Future Management Future watch Health Health Care Equipment & Services Household Goods & Home Construction Infrastructure Innovation ISO ISO45001 IT Management Strategy Media Mobile Occupational health and safety Pharmaceuticals & Biotechnology Politic Quality safety Social standard Standardization Standards Strategic Management Sustainability Sustainability Management Technology Telecommunications Travel & Leisure water water management Water Supply

Email Newsletter

Receive daily updates:

Standardization | — March 5, 2018 8:00 am
แนวทางการบริหารความเสี่ยงยุคใหม่
Posted by Phunphen Waicharern with 3011 reads
0
  

Simpler-Risk-management-with-ISO-31000-2018มีความเสี่ยงหลายอย่างที่องค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชนทั่วโลกต้องเผชิญหน้า เช่น เรื่องของชื่อเสียงหรือแบรนด์  เรื่องของการก่อการร้ายและความเสี่ยงทางการเมือง เป็นต้น ความเสี่ยงเหล่านี้กำลังมีมากขึ้นและบ่อยขึ้น ซึ่งไอเอสโอมีความเข้าใจในเรื่องนี้เป็นอย่างดี จึงได้จัดทำแนวทางการบริหารความเสี่ยงขึ้นมาเพื่อช่วยให้องค์กรทุกประเภททุกขนาดสามารถจัดการกับความไม่แน่นอนของโลกยุคนี้ได้

ความเสี่ยงเป็นเรื่องที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในชีวิตประจำวัน แต่การตัดสินใจบางอย่างจำเป็นต้องใช้แนวทางที่มีโครงสร้างที่ชัดเจน ตัวอย่างเช่น ผู้บริหารระดับอาวุโสหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลอาจจำเป็นต้องใช้การตัดสินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน การบริหารความเสี่ยงในส่วนของธรรมาภิบาลและความเป็นผู้นำและเป็นพื้นฐานสำหรับวิธีที่องค์กรใช้ในการบริหารในทุกระดับ

การบริหารความเสี่ยงในอดีตอาจจะไม่สามารถนำมาใช้จัดการได้ในยุคนี้ แนวคิดนี้เป็นหัวใจของการทบทวนมาตรฐานแนวทางการบริหารความเสี่ยง ISO 31000: 2018 (Risk management – Guidelines)  ซึ่งเป็นฉบับล่าสุดที่ไอเอสโอเพิ่งตีพิมพ์เผยแพร่ และได้ให้แนวทางที่ชัดเจนขึ้น สั้นลงและกระชับมากขึ้นซึ่งจะช่วยให้องค์กรใช้หลักการบริหารความเสี่ยงเพื่อปรับปรุงการวางแผนและตัดสินใจได้ดีขึ้น

การเปลี่ยนแปลงหลักที่ไอเอสโอได้ปรับปรุงเพิ่มขึ้นจากมาตรฐานฉบับก่อนคือ

- การทบทวนหลักการการบริหารความเสี่ยงซึ่งเป็นเกณฑ์สำคัญในการที่จะบรรลุความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง

- การโฟกัสไปที่ความเป็นผู้นำโดยผู้บริหารระดับสูงซึ่งควรทำให้มั่นใจว่าการบริหารความเสี่ยงมีการรวมเข้าไปในกิจกรรมขององค์กรซึ่งเริ่มต้นด้วยธรรมาภิบาลขององค์กร

- การเน้นไปที่ธรรมชาติของการบริหารความเสี่ยงที่กล่าวถึงประสบการณ์ใหม่ๆ ความรู้และการวิเคราะห์สำหรับการทบทวนองค์ประกอบของกระบวนการ การปฏิบัติ และการควบคุมในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการ

- การทบทวนเนื้อหาโดยโฟกัสให้ชัดเจนขึ้นในเรื่องการรักษาโมเดลระบบเปิดที่มีการแลกปลี่ยน feedback ตามปกติกับสภาพแวดล้อมภายนอกเพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการและเนื้อหาที่หลากหลาย

เจสัน บราวน์ ประธานคณะกรรมการวิชาการ ISO/TC 262 เรื่อง การบริหารความเสี่ยงที่พัฒนามาตรฐานนี้กล่าวว่า มาตรฐาน 31000 ฉบับทบทวนเน้นไปที่การรวมเอาองค์กรและบทบาทของผู้นำและความรับผิดชอบของผู้นำเข้าไว้ด้วยกัน นักปฏิบัติด้านความเสี่ยงมักจะคิดไปอีกขั้นหนึ่งของการจัดการองค์กร  และการเน้นย้ำในเรื่องนี้จะช่วยให้มีการแสดงว่าการบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนที่ธุรกิจต้องทำร่วมกัน

สำหรับมาตรฐานฉบับนี้ แต่ละส่วนมีการทบทวนด้วยความชัดเจน มีการใช้ภาษาที่ง่ายขึ้นเพื่อให้เข้าใจง่ายและสามารถเข้าถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย   โดยเน้นไปที่การสร้างสรรค์และปกป้องคุณค่ามากขึ้นในฐานะที่เป็นตัวขับเคลื่อนหลักของการบริหารความเสี่ยงและคุณลักษณะที่เกี่ยวข้องกับหลักการเช่น การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การรวมเอาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าด้วยกัน การทำให้องค์กรมีการพิจารณาและกำหนดปัจจัยด้านวัฒนธรรมและด้านที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์

ปัจจุบัน ความเสี่ยง ได้รับการระบุว่าเป็นผลกระทบของความไม่แน่นอนต่อวัตถุประสงค์ซึ่งเน้นไปที่ผลของความรู้ที่ไม่สมบูรณ์ในเหตุการณ์ที่มีต่อการตัดสินใจขององค์กร ซึ่งจำเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องความเข้าใจแบบเดิมๆ เกี่ยวกับความเสี่ยง การทำให้องค์กรต้องบริหารความเสี่ยงในแบบที่เหมาะสมกับความจำเป็นและวัตถุประสงค์ซึ่งเป็นประโยชน์หลักของมาตรฐานฉบับนี้

เจสัน บราวน์ อธิบายว่า มาตรฐาน ISO 31000 ได้จัดเตรียมกรอบการบริหารความเสี่ยงที่สนับสนุนทุกกิจกรรม รวมทั้งการตัดสินใจในทุกระดับขององค์กร และกระบวนการขององค์กรควรจะรวมเอาไว้ในระบบการบริหารงานเพื่อให้มั่นใจในความคงเส้นคงวาและความมีประสิทธิผลของการควบคุมการบริหารในทุกพื้นที่ขององค์กร ซึ่งจะรวมถึงกลยุทธ์และการวางแผน ความยืดหยุ่นขององค์กร เทคโนโลยีสารสนเทศ ธรรมาภิบาลขององค์กร ความสอดคล้องกันของทรัพยากรบุคคล คุณภาพ ความปลอดภัยและสุขภาพ ความต่อเนื่องทางธุรกิจ การบริหารความเสี่ยงและความมั่นคงปลอดภัย

มาตรฐานใหม่นี้ถือว่าก้าวไปไกลเกินกว่าฉบับเดิมโดยได้ให้ความหมายใหม่ในการบริหารความเสี่ยงในอนาคต โดยมีการจัดเตรียมแนวทางซึ่งไม่ใช่ข้อกำหนดและไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานเพื่อขอรับการรับรอง ซึ่งทำให้ผู้จัดการมีความยืดหยุ่นในการนำมาตรฐานไปใช้งานในลักษณะที่เหมาะสมกับความจำเป็นและวัตถุประสงค์ขององค์กรได้เป็นอย่างดี

เจสัน บราวน์ยังกล่าวเสริมอีกว่าวัตถุประสงค์ของหลักการของคณะกรรมการวิชาการ ISO/TC 262  ก็คือเพื่อช่วยให้องค์กรมีความมั่นใจในความสามารถในการดำเนินงานที่มีอยู่และความสำเร็จในระยะยาวขึ้น ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ด้วยการจัดเตรียมวิธีปฏิบัติด้านการบริหารความเสี่ยงที่ดี เพราะ “ความล้มเหลวในการบริหารความเสี่ยงก็คือความล้มเหลวในความเสี่ยงที่มีมาตามธรรมชาติ” นั่นเอง

ที่มา: https://www.iso.org/news/ref2263.html



Related posts

  • ทองคำสีดำแห่งทะเลอาร์กติกกับมาตรฐานสากล ตอนที่ 2ทองคำสีดำแห่งทะเลอาร์กติกกับมาตรฐานสากล ตอนที่ 2
  • ไอเอสโอสู้ภัยแผ่นดินไหว กำหนดมาตรฐาน ISO 16711ไอเอสโอสู้ภัยแผ่นดินไหว กำหนดมาตรฐาน ISO 16711
  • เพื่อผู้ป่วยที่รัก – “มาตรฐานอุปกรณ์ทางการแพทย์” ตอนที่ 2เพื่อผู้ป่วยที่รัก – “มาตรฐานอุปกรณ์ทางการแพทย์” ตอนที่ 2
  • มาตรฐานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์/บริการที่ปกป้องความเป็นส่วนตัวข้อมูลลูกค้ามาตรฐานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์/บริการที่ปกป้องความเป็นส่วนตัวข้อมูลลูกค้า
  • มาตรฐาน ISO 10303 เพื่อโลกอนาคต ตอนที่ 2มาตรฐาน ISO 10303 เพื่อโลกอนาคต ตอนที่ 2

Tags: ISO, ISO31000, Risk Management, Standardization, Strategic Management

Click here to cancel reply.

Log in to join the conversation

You must be logged in to post a comment.

SUBSCRIBE

  • RSS FEED RSS FEEDSubscribe
  •  TwitterFollow us
  •  FacebookFan Page
  •  LinkedIn
  •  Youtube

Recent Comments

  • Phunphen Waicharern on แนะนำตึกสูงระฟ้าแห่งแรกของโลก ใช้พลังงานเป็นศูนย์
  • Phunphen Waicharern on ไอเอสโอพัฒนามาตรฐานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • Naris Lapsunthornphitak on ไอเอสโอพัฒนามาตรฐานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • Naris Lapsunthornphitak on แนะนำตึกสูงระฟ้าแห่งแรกของโลก ใช้พลังงานเป็นศูนย์
  • Naris Lapsunthornphitak on นวัตกรรมสีแห้งของไนกี้

Interesting Pages

  • (TH) landing page
  • Magazine
  • Take a Tour
  • Today Seminar
  • Contact Us

Categories

© Copyright 2021 — MASCI Innoversity. All Rights Reserved top ↑