• Home
  • Contact Us
  • masci.or.th
Guest Edition 
TH
EN
Log in
Close
Lost your password?
MASCI Innoversity
  • Standardization
  • Future Management
    • Future Watch
    • Scenario Planning
    • Trend
      • Economic
      • Environment
      • Politic
      • Social
      • Technology
  • Strategic Management
    • Management Strategy
    • Risk Management
  • Sustainability Management
    • Economy
      • Quality Management
      • Business Continuity Management
      • Productivity Management
      • Innovation Management
    • Environment
      • Environmental Management
      • Carbon Management
      • Water Management
      • Energy Management
    • Social
      • Social Responsibility
      • Occupational Health and Safety Management
      • Labour Management
      • Community Management
  • Sufficiency Economy


TAKE A TOUR



Popular Views

  • ทำไมต้องรู้เรื่อง ISO 45001 ตอนที่ 1ทำไมต้องรู้เรื่อง ISO 45001 ตอนที่ 1
    16,003 view(s)
  • ประกาศแล้ว ISO/IEC 17025: 2017ประกาศแล้ว ISO/IEC 17025: 2017
    15,147 view(s)
  • ปรับปรุงล่าสุด – มาตรฐานอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ ISO 13485ปรับปรุงล่าสุด – มาตรฐานอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ ISO 13485
    10,527 view(s)
  • ใหม่ล่าสุด ISO 14004: 2016 เสริมการใช้งาน ISO 14001ใหม่ล่าสุด ISO 14004: 2016 เสริมการใช้งาน ISO 14001
    10,365 view(s)
  • ISO 9004 หัวใจความสำเร็จของธุรกิจที่ยั่งยืนISO 9004 หัวใจความสำเร็จของธุรกิจที่ยั่งยืน
    10,220 view(s)

Most Comments

  • วาดฝันอนาคตของการตั้งครรภ์วาดฝันอนาคตของการตั้งครรภ์16 comment(s)
  • สมาร์ทโฟนใช้แทนกุญแจโรงแรมสมาร์ทโฟนใช้แทนกุญแจโรงแรม15 comment(s)
  • WhatsApp มีผู้ใช้ต่อเนื่องครบ 430 ล้านคนWhatsApp มีผู้ใช้ต่อเนื่องครบ 430 ล้านคน14 comment(s)
  • นิทานเซนกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 1 ความสุขอยู่หนใดนิทานเซนกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 1 ความสุขอยู่หนใด14 comment(s)
  • 20 นวัตกรรมด้านการแพทย์และยาที่กำลังจะมาในปี 2557 ตอนที่ 220 นวัตกรรมด้านการแพทย์และยาที่กำลังจะมาในปี 2557 ตอนที่ 214 comment(s)

Tag

Aerospace & Defense Agriculture Alternative Energy Automobiles & Parts Climate Change COVID-19 Economy Electronic & Electrical Equipment Energy Environment Environmental Management Financial Services Food & Beverages Future Management Future watch Health Health Care Equipment & Services Household Goods & Home Construction IEC Infrastructure Innovation ISO IT Management Strategy Media Pharmaceuticals & Biotechnology Politic Quality safety SDGs Security Social standard Standardization Standards Strategic Management Sustainability Sustainability Management Technology Telecommunications Travel & Leisure UN water water management Water Supply

Email Newsletter

Receive daily updates:

Future Management | Future Watch | — April 11, 2018 8:00 am
นักวิจัยพบวิธีการ “สั่งใจ” หนูทดลอง
Posted by Phunphen Waicharern with 3992 reads
0
  

New-Research-of--Mind-Controlled--Mice1หนูทดลองที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ทดลองเพื่อวิจัยค้นหาสิ่งต่างๆ กันมาตั้งแต่อดีตนั้น   จนถึงปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ก็ยังคงใช้มันอยู่ แต่อยู่มาวันหนึ่ง มันกลับไม่มีความรู้สึกอีกต่อไป เพราะมีนักวิจัยใช้หนูทดลองมาทำการทดลองที่ทำให้มันไม่มีความรู้สึกอยากอาหารหรือตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆ ได้

นักวิจัยเกาหลีของสถาบัน KAIST (Korea Advanced Institute of Science and Technology) ได้ทำการทดลองให้หนูเชื่อฟังคำสั่งและสร้างเขาวงกตให้หนูทดลองเดินโดยใช้เทคนิคที่เรียกว่าออปโตเจเนติกส์ซึ่งเป็นกระบวนการที่นักวิจัยใช้เส้นใยไฟเบอร์อ็อปติกหรือเครื่องมือที่คล้ายกันสอดใส่ในสมองภายใต้เนื้อเยื่อประสาทของหนูทดลองเพื่อกระตุ้นให้มันทำกิจกรรมต่างๆ การกดปุ่มเปิดปิดที่เส้นใยนี้ส่งผลต่อโปรตีนที่ตอบสนองต่อแสงไฟและทำให้เกิดการสั่งงาน สำหรับการทดลองในครั้งนี้ นักวิจัยทำให้หนูมีความอยากเล่นลูกบอลที่วางอยู่ด้านหน้า และทำให้มันไล่ล่าลูกบอลต่อไป  แต่การปิดสัญญาณอย่างกระทันหันทำให้หนูหมดความสนใจในลูกบอลอีกต่อไป

ขั้นต่อไป นักวิจัยทำการควบคุมหนูทดลองด้วยการนำมันไปสู่เขาวงกตที่ซับซ้อนและสร้างจุดเบี่ยงเบนความสนใจไปที่หนูตัวเมีย และอาหารอร่อยๆ จำนวนมาก และเมื่อกดปุ่มเปิดให้ทำงาน นักวิจัยก็สามารถนำทางให้หนูเดินไปยังปลายทางของเขาวงกตได้โดยง่ายโดยมันไม่สนใจจุดเบี่ยงเบนดังกล่าว

ประเด็นนี้บ่งบอกอะไรเราได้บ้าง  ทีมวิจัยนึกถึงเทคโนโลยีที่ช่วยควบคุมสัตว์ให้ทำภารกิจเรื่องการดมกลิ่นให้สำเร็จ เช่น การค้นหาและช่วยเหลือ การติดตามผู้รอดชีวิตในเหมือง และการค้นหายาเสพติด เป็นต้น

แดซู คิม หัวหน้าโครงการทดลองกล่าวว่า หากเปรียบเทียบกับหุ่นยนต์แล้ว สัตว์ทดลองสามารถเคลื่อนไหวได้คล่องตัวกว่าและสามารถก้าวข้ามพื้นที่ที่มีความยากลำบากได้ดีกว่า เนื่องจากตามธรรมชาติแล้ว สัตว์สามารถมีชีวิตและเคลื่อนไหวอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่มีความซับซ้อนและไม่ต้องใช้แบตเตอร์รี่เหมือนหุ่นยนต์

อันที่จริงแล้ว นักวิทยาศาสตร์ได้ทดลองใช้รีโมทคอนโทรลควบคุมสัตว์มาก่อนหน้านี้ และส่วนใหญ่ก็พิสูจน์แล้วว่าเป็นเช่นนั้นจริงๆ  ปีที่แล้ว ทีมวิจัยได้พัฒนาหุ่นยนต์กาฝากที่เกาะติดอยู่บนหลังเต่าและควบคุมการเคลื่อนไหวด้วยการแสดงไฟสัญญาณที่หัวและตัวฟีด เมื่อปี 2555 (ค.ศ.2012) นักวิจัยได้สร้างแมลงสาบไซบอร์กที่กระตุ้นอวัยวะรับรู้ด้วยการใช้สัญญาณไร้สายที่ติดอยู่กับหลังของมันด้วยตัวกระตุ้นจากภายนอกซึ่งไม่ใช่ออปโตเจเนติกส์เหมือนการทดลองในครั้งนี้

แล้วการทดลองนี้จะนำมาใช้กับมนุษย์เราได้อย่างไร คำตอบคือ เป็นการใช้ทางการแพทย์เพื่อกระตุ้นสมองส่วนลึก เช่น การบำบัดรักษาโรคพาร์คินสัน เป็นต้น แต่สำหรับการใช้ออปโตเจเนติกส์เพื่อช่วยให้เราหลีกเลี่ยงความอยากอาหารยังดูเหมือนจะยังไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการทดลองนี้

ที่มา:

1. https://futurism.com/mind-controlled-mice-food/

2. https://gizmodo.com/scientists-create-mind-controlled-hunting-zombie-mice-1791112390



Related posts

  • ค้นพบพลาสติกเทียมห้ามเลือดได้ด้วยตัวเองค้นพบพลาสติกเทียมห้ามเลือดได้ด้วยตัวเอง
  • 6 การออกแบบที่สามารถช่วยชีวิตคุณได้ ตอนที่ 16 การออกแบบที่สามารถช่วยชีวิตคุณได้ ตอนที่ 1
  • สิบอันดับเทรนด์ธุรกิจสำหรับอนาคตใหม่สิบอันดับเทรนด์ธุรกิจสำหรับอนาคตใหม่
  • 9 นวัตกรรมช่วยพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่คุณจะเห็นในอนาคต ตอนที่ 29 นวัตกรรมช่วยพัฒนาอย่างยั่งยืน ที่คุณจะเห็นในอนาคต ตอนที่ 2
  • ชาวญี่ปุ่นวัย 71 ปีคว้ารางวัลโนเบลสาขาการแพทย์ชาวญี่ปุ่นวัย 71 ปีคว้ารางวัลโนเบลสาขาการแพทย์

Tags: Future Management, Future watch, MICE

Click here to cancel reply.

Log in to join the conversation

You must be logged in to post a comment.

SUBSCRIBE

  • RSS FEED RSS FEEDSubscribe
  •  TwitterFollow us
  •  FacebookFan Page
  •  LinkedIn
  •  Youtube

Recent Comments

  • Phunphen Waicharern on แนะนำตึกสูงระฟ้าแห่งแรกของโลก ใช้พลังงานเป็นศูนย์
  • Phunphen Waicharern on ไอเอสโอพัฒนามาตรฐานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • Naris Lapsunthornphitak on ไอเอสโอพัฒนามาตรฐานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • Naris Lapsunthornphitak on แนะนำตึกสูงระฟ้าแห่งแรกของโลก ใช้พลังงานเป็นศูนย์
  • Naris Lapsunthornphitak on นวัตกรรมสีแห้งของไนกี้

Interesting Pages

  • (TH) landing page
  • Magazine
  • Take a Tour
  • Today Seminar
  • Contact Us

Categories

© Copyright 2023 — MASCI Innoversity. All Rights Reserved top ↑